ในการจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สำคัญที่ผู้เรียนต้องผ่านตามลำดับ
คือระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในการจบหลักสูตรหลักฐานที่สำคัญที่แสดงการจบหลักสูตรคือระเบียนแสดงผลการเรียน
ผู้ที่เข้าใจเรื่องนี้ดีคือครูซึ่งทำหน้าที่งานทะเบียนและวัดผลการศึกษา ดังนั้นเพื่อให้ครูที่สนใจได้เห็นหลักฐานสำคัญที่ผู้เรียนจะได้รับ
เพื่อใช้ประกอบในการศึกษาปัญหาของผู้เรียนได้อีกทางหนึ่ง จึงนำลิงก์
ตัวอย่างการกรอกข้อมูลระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.1 ทั้งสามระดับการศึกษาไว้ที่นี่
คลิกที่นี่
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 สมรรถนะ
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช
2551
ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช
2551 ได้กำหนดให้สมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียนเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี
มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก
นอกเหนือจากคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจึงเป็นกลไกสำคัญอันหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยในหลักสูตร
ฯ ได้กำหนดสมรรถนะสำคัญที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนไว้ 5 สมรรถนะได้แก่
1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด
3)ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
และ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เพื่อความสะดวกจึงได้นำลิงก์มาไว้ที่นี่ เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจต่อไป
- ไฟล์ Win RAR (ป.ุุ6 ม.3 และ ม.6) คลิกที่นี่
- ไฟล์ Win RAR (ป.ุุ6 ม.3 และ ม.6) คลิกที่นี่
วันศุกร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ
หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ไว้ ๘ ประการ ได้แก่ ๑)
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)
ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔)
ใฝ่เรียนรู้ ๕)
อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำงาน ๗)
รักความเป็นไทย และ๘) มีจิตสาธารณะ
การนำคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการดังกล่าว
ไปพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนั้น ครูต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างชัดเจน
โดยพิจารณาจาก นิยาม ตัวชี้วัดพฤติกรรมบ่งชี้
และเกณฑ์การให้คะแนนของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อย่างชัดเจน
ผู้รวบรวมจึงได้สืบค้นจากอินเทอร์เนต
นำมาขึ้นไว้ในบล็อกนี้เพื่อความสะดวกของผู้สนใจได้ศึกษาค้นคว้าต่อไป
ว่าที่ ร.ต. ดร. ประสิทธิ์ รัตนสุภา
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
-
แนวทางการพัฒนา
การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (โรงเรียนนำร่องเป็นไฟล์Word) คลิกที่นี่
- แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (โรงเรียนนำร่องพิมพ์ปี 2552 เป็นไฟ pdf)
คลิกที่นี่
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (โรงเรียนนำร่องเป็นไฟล์Word) คลิกที่นี่
- แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (โรงเรียนนำร่องพิมพ์ปี 2552 เป็นไฟ pdf)
คลิกที่นี่
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.
การพัฒนารูปแบบการวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
: อาจารย์ ดร.อัจศรา ประเสริฐสิน [รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ งานวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องค์การมหาชน) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558]
คลิกที่นี่
คลิกที่นี่
2.
รูปแบบการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนิสิตนักศึกษาด้วยกิจกรรมเสริมหลักสูตร : คณะอนุกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษานอกชั้นเรียน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลางเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย คลิกที่นี่
3.
แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านการอยู่อย่างพอเพียงของนักเรียน
4.
ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่มีต่อคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านอยู่อย่างพอเพียง
5.
การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551 กรณีศึกษาโรงเรียนแกดำวิทยาคาร
--------------------------------
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)